Junshi Biosciences Announces Two Additional Indications for Toripalimab Included in China’s National Reimbursement Drug List

–the only anti-PD-1 monoclonal antibody in the NRDL for melanoma and nasopharyngeal carcinoma

SHANGHAI, China, Dec. 03, 2021 (GLOBE NEWSWIRE) — Junshi Biosciences (HKEX: 1877; SSE: 688180), a leading innovation-driven biopharmaceutical company dedicated to the discovery, development, and commercialization of novel therapies, announced today that the company’s product toripalimab continues to be included in Category B in the National Drug List for Basic Medical Insurance, Work-Related Injury Insurance and Maternity Insurance (2021 Edition) (the “NRDL”) upon negotiations, with two additional indications including the treatment of patients with recurrent or metastatic nasopharyngeal carcinoma after failure of at least two lines of prior systemic therapy and patients with locally advanced or metastatic urothelial carcinoma after failure of platinum-containing chemotherapy or progressed within 12 months of neoadjuvant or adjuvant platinum-containing chemotherapy. In December 2020, the second-line treatment of unresectable or metastatic melanoma was included in the NRDL for the first time. Toripalimab is the only anti-PD-1 monoclonal antibody included in the NRDL for the treatment of melanoma and nasopharyngeal carcinoma.

About Toripalimab
Toripalimab is an anti-PD-1 monoclonal antibody developed for its ability to block PD-1 interactions with its ligands, PD-L1 and PD-L2, and for enhanced receptor internalization (endocytosis function). Blocking PD-1 interactions with PD-L1 and PD-L2 is thought to recharge the immune system’s ability to attack and kill tumor cells. More than thirty company-sponsored toripalimab clinical studies covering more than fifteen indications have been conducted globally, including in China, the United States, Southeast Asia, and European countries. Ongoing or completed pivotal clinical trials evaluating the safety and efficacy of toripalimab cover a broad range of tumor types including cancers of the lung, nasopharynx, esophagus, stomach, bladder, breast, liver, kidney and skin.

In China, toripalimab was the first domestic anti-PD-1 monoclonal antibody approved for marketing (approved in China as TUOYI®). On December 17, 2018, toripalimab was granted a conditional approval by the National Medical Products Administration (NMPA) for the second-line treatment of unresectable or metastatic melanoma. In February 2021, the NMPA granted a conditional approval to toripalimab for the treatment of patients with recurrent or metastatic nasopharyngeal carcinoma (“NPC”) after failure of at least two lines of prior systemic therapy. In April, the NMPA granted a conditional approval to toripalimab for the treatment of patients with locally advanced or metastatic urothelial carcinoma who failed platinum-containing chemotherapy or progressed within 12 months of neoadjuvant or adjuvant platinum-containing chemotherapy. In November 2021, the NMPA approved toripalimab in combination with cisplatin and gemcitabine as the first-line treatment for patients with locally recurrent or metastatic nasopharyngeal carcinoma. In addition, the supplemental NDA for the first-line treatment of patients with advanced or metastatic esophageal squamous cell carcinoma was accepted by the NMPA for review in July 2021.

In December 2020, toripalimab was successfully included in the updated National Reimbursement Drug List for the indication of the second-line treatment of unresectable or metastatic melanoma. In December 2021, two additional indications were included on the list: recurrent or metastatic nasopharyngeal carcinoma after failure of at least two lines of prior systemic therapy and locally advanced or metastatic urothelial carcinoma after failure of platinum-containing chemotherapy or progressed within 12 months of neoadjuvant or adjuvant platinum-containing chemotherapy.

In the United States, the FDA has granted priority review for the toripalimab BLA for the treatment of recurrent or metastatic NPC, an aggressive head and neck tumor which currently has no FDA-approved immuno-oncology treatment options. Earlier, the FDA granted Breakthrough Therapy designation for toripalimab in combination with chemotherapy for the 1st line treatment of recurrent or metastatic NPC as well as for toripalimab monotherapy in the second or third-line treatment of recurrent or metastatic NPC. Additionally, the FDA has granted Fast Track designation for toripalimab for the treatment of mucosal melanoma and orphan drug designation for esophageal cancer, NPC, mucosal melanoma and soft tissue sarcoma. Earlier in 2021, Coherus in-licensed rights to develop and commercialize toripalimab in the United States and Canada. Coherus and Junshi Biosciences plan to file additional toripalimab BLAs with the FDA over the next three years for multiple other cancer types.

About Junshi Biosciences
Founded in December 2012, Junshi Biosciences (HKEX: 1877; SSE: 688180) is an innovation-driven biopharmaceutical company dedicated to the discovery, development and commercialization of innovative therapeutics. The company has established a diversified R & D pipeline comprising 45 drug candidates, with five therapeutic focus areas covering cancer, autoimmune, metabolic, neurological, and infectious diseases. Junshi Biosciences was the first Chinese pharmaceutical company that obtained marketing approval for anti-PD-1 monoclonal antibody in China. Its first-in-human anti-BTLA antibody for solid tumors was the first in the world to be approved for clinical trials by the FDA and NMPA and its anti-PCSK9 monoclonal antibody was the first in China to be approved for clinical trials by the NMPA. In early 2020, Junshi Biosciences joined forces with the Institute of Microbiology of Chinese Academy of Science and Eli Lilly to co-develop JS016 (etesevimab), China’s first neutralizing fully human monoclonal antibody against SARS-CoV-2. JS016 administered with bamlanivimab has been granted Emergency Use Authorizations (EUA) in 15 countries and regions worldwide. The JS016 program is a part of our continuous innovation for disease control and prevention of the global pandemic. Junshi Biosciences has over 2,500 employees in the United States (San Francisco and Maryland) and China (Shanghai, Suzhou, Beijing and Guangzhou). For more information, please visit: http://junshipharma.com.

Junshi Biosciences Contact Information
IR Team:
Junshi Biosciences
info@junshipharma.com
+ 86 021-2250 0300

Solebury Trout
Bob Ai
bai@soleburytrout.com
+ 1 646-389-6658

PR Team:
Junshi Biosciences
Zhi Li
zhi_li@junshipharma.com
+ 86 021-6105 8800

Laos-China railway launched amid concern about debt owed to China

Published by
Kyodo News

A railway connecting Laos and the Chinese border was launched Friday amid concerns that the large amount of debt the Southeast Asian country owes China for the project could force it to give up concessions. Laos is banking on the economic benefits its first long-distance railway will bring through greater trade, while China hopes its marquee infrastructure project under its Belt and Road Initiative will eventually extend to Thailand, Malaysia and Singapore, and create a land-based route to the Indo-Pacific. The 414-kilometer, single-track railway connects the Laotian capital Vientiane with Bot… Continue reading “Laos-China railway launched amid concern about debt owed to China”

Vietnam’s beautiful landmarks appear on Thomson Reuters Building billboard, Times Square

Vietnam’s beautiful landmarks appear on Thomson Reuters Building billboard, Times Square

HO CHI MINH CITY, Vietnam, Dec. 03, 2021 (GLOBE NEWSWIRE) — On December 2, 2021, a video highlighting the beauty of Vietnam and the launching of regular flights between Vietnam and the United States was displayed on the main billboard at the heart of New York City’s Times Square, attracting global attention.

Captivating landscapes of Vietnam such as the mysterious Son Doong cave and the awe-inspiring and poetic sceneries of Ha Long Bay and Ninh Binh, along with the vibrant and impressive cities of Da Nang, Hanoi, and Ho Chi Minh City, were proudly showcased on the 700 sq. ft LED screen surrounding the iconic 30-story Thompson Reuters building.

Here, the official launching event of the first Vietnam – U.S. direct commercial flight held on November 28 was also introduced, ushering in the next step for economic and cultural exchange between the two countries. This was certainly a special milestone for the development of Vietnamese aviation as a whole and for Vietnam Airlines — becoming the country’s first airline to operate regular direct commercial flights to the U.S.

Vietnam Airlines will run two flights per week from Ho Chi Minh City to San Francisco with the modern wide-body aircraft: Boeing 787 and Airbus A350. The flight duration is 13 hours and 50 minutes from Ho Chi Minh City to San Francisco, and 16 hours and 40 minutes for the return flight.

The airline plans to increase to seven flights per week once the COVID-19 pandemic is determined to be under control and plans to open a new route to connect Los Angeles to both Hanoi and Ho Chi Minh City.

On November 4, 2021, the U.S. Federal Aviation Administration (FAA) granted licensing for Vietnam Airlines to operate regular direct flights between the two countries. The flag carrier is the first and only Vietnamese airline licensed to conduct regular commercial flights to the U.S.

https://www.globenewswire.com/NewsRoom/AttachmentNg/91c3ac12-f0d7-48b7-aa51-9060166f68a0

public-relations@vietnamairlines.com

Champions of the Mic Reggae Now Available to Stream Online

Available in 46 Countries

Champions of the Mic

Champions of the Mic

LOS ANGELES, Dec. 03, 2021 (GLOBE NEWSWIRE) — Champions of the Mic is the latest production from Brad Eaddy & Top Gun Entertainment LLC, the first of a series showcasing reggae legends. Fans all over the world can enjoy watching amazing performances filmed over the years that are a must-see for the holidays.

“We took a unique approach when producing this concert by adding in the hip-hop element with comedy and reggae.” – Brad Eaddy (creator and executive producer).

The star-studded lineup is hosted by comedian Faizon Love, star of Friday, Elf, Couples Retreat and a host of other popular movies & includes Tristan Palma, Milton Henry, Winston Hussey, Martin Campbell, Sister Nancy, Purpleman (his last recorded performance) & Yellowman. Snoop Dogg is even featured on the film’s soundtrack.

“Champions of the Mic is a series that pays homage to the artists that have used their platform to speak about issues that have affected the world,” said Eaddy.

The film is a definite must-see for all reggae fans around the world & for those interested in watching some of the best reggae performers out there.

The musical champions give a powerful performance, and the film includes exclusive interviews from the performers as they share their stories with the audience at home. Which is something that the world needs to see for a little bit of thrill in such bizarre times.

The website was created to provide dedicated streaming to users on any device all around the globe & accepts payments in 46 countries.

To stream “Champions of the Mic” today, visit championsofthemic.com.

PR Contact:

Top Gun Entertainment LLC

P.O. Box 462288

Escondido, CA 92046

info@championsofthemic.com

Related Images

Image 1: Champions of the Mic

Reggae Film

This content was issued through the press release distribution service at Newswire.com.

Attachment

‘Game changer’: Laos opens Chinese-built railway line

Published by
Relaxnews

Laos is set to open a $6 billion Chinese-built railway on Friday, with debt concerns balanced against hopes it could boost the reclusive nation’s struggling economy. The 414-kilometre (260-mile) route took five years to construct under China’s trillion-dollar Belt and Road Initiative. Analysts have acknowledged the potential economic boost, but have queried how infrastructure-poor Laos will pay its $1.06 billion debt — and whether it is ready to exploit the state-of-the-art transport system. But Chinese foreign ministry spokesman Wang Wenbin said Wednesday the “flagship project” would give a … Continue reading “‘Game changer’: Laos opens Chinese-built railway line”

Luxury Portfolio International เผยแพร่รายงานสถานะอสังหาริมทรัพย์ระดับหรู ประจำปี 2022

ผู้ขายอสังหาริมทรัพย์ระดับหรูมีจำนวนเพิ่มขึ้นทั่วโลก ผู้ซื้อบางรายแสดงความกลัวว่าตนเองจะตกกระแส (FOMO) และความยั่งยืน ‘มีความสำคัญอย่างยิ่ง’ สำหรับผู้ซื้อที่ร่ำรวยทั่วโลก

รายงานฉบับล่าสุดประกอบด้วยข้อมูลจากกลุ่มผู้มีรายได้สูงสุด 1-5% แรกใน 20 ประเทศ ซึ่งเป็นตัวแทนของประชากรที่ร่ำรวยเกือบ 32 ล้านครัวเรือน

นิวยอร์ก, Dec. 03, 2021 (GLOBE NEWSWIRE) — Luxury Portfolio International® (LPI) ซึ่งเป็นเครือข่ายนายหน้าอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัยระดับหรูชั้นนำระดับโลก มีความยินดีที่จะนำเสนอ รายงานสถานะอสังหาริมทรัพย์ระดับหรู ประจำปี 2022 (State of Luxury Real Estate Report หรือ SOLRE) การศึกษาดังกล่าวประกอบด้วยข้อมูลจากกลุ่มบุคคลที่มีรายได้สูงสุด 1% ถึง 5% แรกใน 20 ประเทศ และกล่าวถึงหัวข้อต่าง ๆ ที่สำคัญสำหรับตลาดอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัยระดับหรูทั่วโลก

สิ่งสำคัญที่สุดก็คือ รายงานของ LPI แสดงให้เห็นเทรนด์ที่โดดเด่นอย่างต่อเนื่องในเกี่ยวกับการซื้อบ้านซึ่งเริ่มขึ้นในช่วงไตรมาสที่ 3 ของปี 2020 และยังคงดำเนินต่อไปตลอดปี 2021 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าความต้องการอสังหาริมทรัพย์ระดับหรูยังคงสูงอยู่ โดยคาดว่าราคาจะยังคงเพิ่มขึ้นต่อไป ในขณะที่อุปทานยังคงต่ำกว่าอุปสงค์ บ้านระดับหรูสำหรับครอบครัวเดี่ยวยังคงจำหน่ายหมดโดยใช้เวลา “เพียงไม่กี่ชั่วโมง” และความยั่งยืน “มีความสำคัญอย่างยิ่ง” (66%) สำหรับการพิจารณาซื้อบ้านในอนาคต

นอกจากนี้การศึกษายังชี้ให้เห็นว่าผู้ขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัยที่ร่ำรวยมีจำนวนเพิ่มขึ้นทั่วโลก โดยในบรรดาผู้ซื้อบ้านระดับหรู ผู้ซื้อส่วนใหญ่ (74%) ต่างรู้สึกมั่นใจเรื่องฐานะทางเศรษฐกิจส่วนบุคคล ในขณะที่ผู้ซื้อ 75% ยังคงมีความกังวลเป็นอย่างมากว่าอำนาจการใช้จ่ายตามอำเภอใจของตนเองอาจได้รับผลกระทบในไม่ช้า

แม้จะมีการคาดการณ์ว่าสถานการณ์ในปี 2022 จะดำเนินไปอย่างรวดเร็วต่อไป แต่ก็มีสัญญาณว่าตลาดอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัยระดับหรูจะมีเสถียรภาพมากขึ้น ซึ่งเป็นขั้นตอนสำคัญที่จะช่วยหลีกเลี่ยงความยุ่งยากของตลาดที่ร้อนแรงในระยะยาว

จากผลการศึกษาในหัวข้อต่าง ๆ ในมุมกว้างเกี่ยวกับครัวเรือนที่ร่ำรวยทั่วโลกโดย Luxury Portfolio International® (LPI) พบว่าผู้ซื้อบ้านระดับหรูถึง 75% จะเลือกซื้อบ้านหลังต่อไปโดยเน้นเรื่องความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม และในช่วงปลายปี 2021 ตลาดอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัยระดับหรูจะมีความแข็งแกร่งมากที่สุดช่วงหนึ่งในประวัติศาสตร์

Mickey Alam Khan ประธานกรรมการบริหารของ LPI กล่าวว่า “หลังจากปีที่อสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัยเติบโตสูงสุดในประวัติศาสตร์ เราคาดว่าตลาดจะเข้าสู่ภาวะสมดุล” “เราจะต้องพิจารณาตลาดระดับหรูในช่วงระยะเวลาหลายปี พร้อมคำนึงถึงว่าช่วงครึ่งแรกของปี 2020 นั้น ตลาดอยู่ในภาวะชะงักงันเนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด ตลาดเริ่มเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วงครึ่งหลังของปี 2020 ต่อเนื่องมาจนถึงปี 2021 และจะยังคงเติบโตต่อไปในปี 2022 ความแตกต่างก็คือในปี 2022 จะมีผู้ขายระดับหรูเพิ่มขึ้นมากกว่าในปี 2021 และถึงแม้จะมีผู้ซื้อระดับหรูจำนวนน้อยลงก็ตาม แต่นี่ก็ยังเป็นตลาดของผู้ขาย สถานการณ์โรคระบาดที่รุนแรงซึ่งผลักดันให้เราอยู่ในภาวะตลาดที่ร้อนแรงเกินไปกำลังกลับสู่ภาวะปกติ อุปสงค์จะยังคงแข็งแกร่ง และอสังหาริมทรัพย์ระดับหรูจะเริ่มเข้าสู่สภาวะตลาดแบบปกติในรูปแบบใหม่ที่มีเสถียรภาพในปี 2022″

จากการศึกษาพบว่า ในขณะนี้ความยั่งยืนกลายเป็นปัจจัยสำคัญที่สร้างความแตกต่างสำหรับบ้านระดับหรู และผู้ซื้อยินดีจ่ายเงินเพิ่มขึ้นเพื่อซื้อคุณสมบัติและสิ่งอำนวยความสะดวกที่จะช่วยให้ตนเองสามารถเตรียมความพร้อมสำหรับอนาคตได้ดียิ่งขึ้น ผู้ตอบแบบสำรวจถึง 75% ระบุว่าตนเองเลือกซื้อบ้านหลังต่อไปโดยคำนึงถึงความยั่งยืน โดยผู้ตอบแบบสำรวจจำนวนมากอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนถึง 90% ตอบ “ใช่” ว่าตนคำนึงถึงความยั่งยืนเป็นหนึ่งในปัจจัยในการหาซื้อบ้านสำหรับชีวิตในอนาคต จากการศึกษาพบว่า การหาซื้อบ้านสำหรับ “ชีวิตในอนาคต” เกิดขึ้นกับผู้ที่ต้องย้ายบ้านเพื่อให้ได้ใกล้ชิดกับครอบครัวให้มากขึ้น เนื่องจากการศึกษาของบุตรหลาน การย้ายงาน และปัจจัยอื่น ๆ เพื่อลดความยุ่งยาก

ผู้ที่สนใจเรื่องความยั่งยืนเป็นปัจจัยหลักในการซื้อบ้านมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นถึง 71% ที่จะมองว่าบ้านที่ซื้อนั้นเป็นมรดกตกทอดที่จะส่งต่อไปยังทายาทของตนเอง นอกจากนี้ เนื่องจากมีความสนใจเรื่องความยั่งยืนเพิ่มขึ้น คุณภาพของผู้ซื้อก็ดีขึ้นด้วยซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับผู้ขาย โดยที่ผู้ซื้อดังกล่าวต้องการทำธุรกรรมให้เร็วขึ้นและมีงบประมาณที่สูงขึ้น

ความกลัวว่าจะตกกระแส (Fear of Missing Out หรือ FOMO) คือความรู้สึกวิตกกังวลว่าในขณะปัจจุบันอาจมีเหตุการณ์ที่น่าตื่นเต้นหรือน่าสนใจเกิดขึ้นในที่อื่น ๆ โดยมักถูกกระตุ้นจากการได้อ่านโพสต์ในสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องจากการอยู่บ้านตลอดหนึ่งปี และพาดหัวข่าวที่ส่งผลให้เกิดสภาวะตลาดที่ร้อนแรง ทำให้ FOMO กลายเป็นข้อกังวลสำคัญสำหรับผู้ซื้อระดับหรูจำนวนถึง 26% FOMO เกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ โดยรูปแบบแรกคือช่วงเวลาที่ “ตกกระแส” อย่างแท้จริงเนื่องจากราคาเพิ่มสูงขึ้นจนไม่อาจซื้อได้ ข้อกังวลประการที่สองซึ่งมีผลกระทบพอ ๆ กันก็คือ การจัดการด้านการเงินสำหรับการซื้อสินค้าชิ้นสำคัญ

แม้ว่าโรคโควิด-19 จะยังคงเป็นข้อกังวลสำคัญ แต่ผลการศึกษาพบว่าตลาดได้เผชิญกับผลกระทบส่วนใหญ่ไปเรียบร้อยแล้ว เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาซึ่งแนวโน้มสำคัญที่สุดสำหรับอสังหาริมทรัพย์ระดับหรูก็คือ การหาซื้อบ้านที่สามารถตอบสนองครอบครัวที่ทำงานจากที่บ้านได้

และถึงจะเป็นอย่างนั้นก็ตาม ผลการศึกษาก็ยังพบว่าผู้ซื้อบ้านระดับหรูจำนวนมากเหนื่อยหน่ายกับการทำงานที่บ้าน การศึกษาพบว่าผู้ซื้อระดับหรู 27% กล่าวว่าการทำงานจากที่บ้านเป็น ‘ข้อกังวลที่สำคัญ’ การทำงานระยะไกล และความวุ่นวายใจและความเครียดจากการอยู่บ้านยังคงมีบทบาทสำคัญสำหรับกระบวนการตัดสินใจซื้อ

ผู้ซื้อที่กังวลเรื่องการลดความเครียดจากสภาพแวดล้อมในการทำงานจากที่บ้านกล่าวถึงการพักผ่อนหย่อนใจ เช่น ความบันเทิงที่บ้าน สถานที่เที่ยวกลางคืนที่อยู่ใกล้เคียง และสิ่งอำนวยความสะดวกที่ช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย เช่น สปา/อ่างน้ำร้อน ค็อกเทลขนาดพิเศษ และห้องพิเศษสำหรับสื่อและการเล่นเกมโดยเฉพาะ

นอกจากนี้การวิจัยดังกล่าวยังมีผลการศึกษาเพิ่มเติมดังนี้

  • ชนชั้นที่ร่ำรวยทั่วโลกยังคงให้ความสนใจเป็นอย่างมากกับการซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัยในทุกระดับที่มีราคาเพิ่มขึ้น 33% ในแต่ละปี แน่นอนว่าในช่วงสิ้นปี 2021 จะยังคงมีผู้ที่ยังคงหาซื้อบ้านต่อไป ส่งผลให้ปี 2022 ยังคงเป็นอีกปีที่อสังหาริมทรัพย์ระดับหรูยังคงเติบโตอย่างแข็งแกร่ง
  • ครัวเรือนที่ร่ำรวยกว่า 14 ล้านครัวเรือนยังคงสนใจที่จะซื้อที่อยู่อาศัย โดยมี 6.4 ล้านครัวเรือนที่จัดเป็นผู้ซื้อระดับหรู นอกจากนี้เจ้าของบ้านระดับหรูอีก 1.2 ล้านคนยังสนใจที่จะขายบ้านในอีก 3 ปีข้างหน้า ซึ่งเพิ่มขึ้นถึง 32% เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่แล้ว แน่นอนว่าการประเมินข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญในการตัดสินใจดังกล่าว
  • ปัจจัยที่เกิดขึ้นร่วมกันเหล่านี้แสดงว่าราคาทั่วโลกจะมีเสถียรภาพและตลาดจะอยู่ในภาวะปกติในปี 2022 และปีต่อ ๆ ไป จำนวนผู้ที่จะซื้อและผู้ที่จะขายซึ่งเคยแตกต่างกันเป็นอย่างมาก (ผู้ซื้อ 10.3 ล้านราย และผู้ขาย 4.0 ล้านราย) จะเข้าสู่ภาวะสมดุลอย่างเหมาะสม (ผู้ซื้อ 6.4 ล้านราย และผู้ขาย 5.2 ล้านราย)
  • แนวโน้มอุปทานของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัยทั่วโลกจะยังคงเติบโตในปี 2022 เปอร์เซ็นต์ของผู้ที่อยู่ในตลาดเพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัยภายในสิ้นปี 2022 เพิ่มขึ้นจาก 19% ในปี 2021 เป็น 39% ในปี 2022 สำหรับยุโรป และจาก 30% ในปี 2021 เป็น 37% ในปี 2022 สำหรับเอเชีย/แปซิฟิก ผู้ตอบแบบสำรวจจากตะวันออกกลาง 46% โดยเฉพาะผู้บริโภคจากซาอุดีอาระเบียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีความสนใจมากที่สุดที่จะซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัย เนื่องจากบุคคลเหล่านั้นยังคงกระจายการถือครองทรัพย์สินของตนเองอย่างต่อเนื่อง ที่อเมริกาเหนือมีการเติบโตเพียงเล็กน้อยจาก 21% ในปี 2021 เป็น 25% ในปี 2022
  • เจ้าของบ้านระดับหรูกำลังเริ่มต้องการขายบ้าน การสร้างบ้านใหม่เกิดความล่าช้าเนื่องจากปัญหาด้านสินค้าและบริการ จึงทำให้ผู้สนใจในบ้านที่สร้างเสร็จแล้วเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม เจ้าของบ้านอาจไม่ได้อยู่ในตลาดเพื่อขายบ้านในปีที่แล้ว ดังนั้นปัญหาบ้านขาดตลาดจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ราคาสูงขึ้นในตลาดระดับหรูส่วนใหญ่ ส่วนในปัจจุบันดูเหมือนว่าเจ้าของบ้านระดับหรูจะเชื่อมั่นว่าตลาดมีความต้องการสูง จึงมีผู้สนใจที่จะขายบ้านเพิ่มขึ้นถึงสองเท่า (28% จากเดิม 11%) ที่จริงแล้วเจ้าของบ้านถึง 71% เชื่อว่าบ้านของตนเองจะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นในปีนี้ ซึ่งเป็นแรงจูงใจสำคัญที่ทำให้ต้องการขายบ้าน โดยเฉลี่ยแล้วเจ้าของบ้านระดับหรูคาดว่าราคาจะเพิ่มขึ้นประมาณ 4-5% เมื่อเทียบกับ 3-4% ในปีที่ผ่านมา
  • ในทางจิตวิทยา ตลาดยังคงเป็นของผู้ขาย แต่ในทางปฏิบัติ เราคาดการณ์ว่าอัตราส่วนของผู้ซื้อและผู้ขายจะมีความสมดุลมากขึ้นในอีกหลายปีต่อจากนี้ ในขณะที่ผู้บริโภคที่ร่ำรวยเข้าสู่ตลาดที่อยู่อาศัย แต่ผู้ที่ต้องการซื้อที่อยู่อาศัยระดับหรูกลับลดลง 58% ในปี 2021 (จากเดิม 34% ลดลงเหลือ 20% ของผู้บริโภคที่ร่ำรวยทั้งหมด) แต่ในทางกลับกัน จำนวนผู้ขายระดับหรูกลับเพิ่มขึ้นถึง 26% (เพิ่มขึ้นเป็น 16% จากเดิม 13% ของผู้บริโภคที่ร่ำรวยทั้งหมด) ซึ่งทำให้ตลาดค่อย ๆ เข้าสู่ภาวะสมดุล
  • แม้ว่าการระบาดของโรคโควิดจะเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผู้คนออกไปอยู่นอกเมือง แต่การวิจัยพบว่าอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัยที่หรูหราใจกลางเมืองก็ยังคงเป็นที่นิยมเช่นเดิม ผู้ซื้อระดับทั่วโลกกว่าครึ่งหนึ่ง (55%) คาดว่าจะซื้อบ้านหลังต่อไปในเมือง และ 77% จะซื้อบ้านที่สามารถเดินทางไปกลับเช้าเย็นได้ สิ่งสำคัญก็คือ ผู้ซื้อระดับหรูในเอเชียแปซิฟิกมีแนวโน้มที่จะซื้อบ้านใจกลางเมืองมากกว่าผู้ซื้อในภูมิภาคอื่นของโลกอย่างเห็นได้ชัด
  • ความนิยมบ้านสำหรับครอบครัวเดี่ยวไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในอเมริกาเหนือ การวิจัยพบว่าบ้านสำหรับครอบครัวเดี่ยวกำลังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นทั่วโลก โดย 40% ของผู้ซื้อในยุโรป/ตะวันออกกลาง และ 29% ของผู้ซื้อในเอเชียแปซิฟิกกำลังมองหาบ้านระดับหรูที่มีพื้นที่และความเป็นส่วนตัวเพิ่มขึ้น ความต้องการที่อยู่อาศัยประเภทนี้เพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องจากโดยรวมแล้วผู้ซื้อระดับหรูสนใจเรื่องพื้นที่สำหรับใช้งานร่วมกันน้อยลงเรื่อย ๆ อเมริกาเหนือยังคงเป็นปัจจัยขับเคลื่อนหลักที่ทำให้มีความต้องการที่อยู่อาศัยประเภทนี้เพิ่มขึ้น
  • ผู้ซื้อกลุ่มใหม่ที่ต้องการซื้อบ้านหรูซึ่งมีราคาไม่สูงมากเริ่มเข้าสู่ตลาด จากบรรดาผู้บริโภคที่ร่ำรวยทั้งหมด ผู้ที่สนใจที่จะซื้ออสังหาริมทรัพย์ราคาต่ำกว่า 1 ล้านดอลลาร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นสัญญาณการฟื้นตัวของผู้ซื้อที่เป็นกลุ่มชนชั้นกลางระดับบนซึ่งชะลอการซื้อเนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด หรือผู้ที่มีความต้องการซื้อและมีกำลังซื้อในขณะนี้ ดังนั้นจึงทำให้ผู้ซื้อบ้านระดับหรูราคาเริ่มต้นในช่วง 1-1.9 ล้านเหรียญสหรัฐ มีจำนวนเพิ่มขึ้นถึง 44% จากเดิม 39% ผลกระทบจากการที่ผู้คนจำนวนต้องการซื้อบ้านระดับหรูนี้เห็นได้เด่นชัดที่สุดในอเมริกาเหนือ ส่วนในเอเชียแปซิฟิก และยุโรป/ตะวันออกกลางจะมีจำนวนน้อยกว่า เนื่องจากชนชั้นที่ร่ำรวยมักจะเป็นคนกลุ่มเล็ก ๆ แต่มีความมั่งคั่งสูงมาก

หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม และต้องการอ่านรายงาน กรุณาคลิกที่นี่: สถานะของอสังหาริมทรัพย์ระดับหรู ประจำปี 2022

ข้อมูลเกี่ยวกับ LUXURY PORTFOLIO INTERNATIONAL® (LPI)
Luxury Portfolio International (luxuryportfolio.com) เป็นเครือข่ายชั้นนำของนายหน้าอสังหาริมทรัพย์ระดับพรีเมียร์ลักซูรีของโลกและตัวแทนชั้นนำของบริษัทเหล่านี้ โดยให้บริการที่เป็นเลิศในด้านการตลาดและข้อมูลเชิงลึกทั่วโลก บริษัทแห่งนี้เป็นบริษัทระดับหรูของ Leading Real Estate Companies of the World® ซึ่งเป็นเครือข่ายบริษัทอสังหาริมทรัพย์อิสระชั้นนำระดับโลก ประกอบด้วยบริษัท 550 แห่ง และพนักงานขาย 150,000 คน ใน 70 ประเทศ ในปีที่ผ่านมา สมาชิกของเครือข่ายนี้ทำให้เกิดธุรกรรมทั่วโลกกว่า 1.3 ล้านครั้ง LPI มีลูกค้าทั่วโลกจากกว่า 200 ประเทศ/ดินแดนในทุก ๆ เดือน และทำการตลาดให้กับบ้านระดับหรูกว่า 50,000 หลังต่อปี Well Connected.™

ที่มา: Luxury Portfolio International®

ดาวน์โหลดภาพประกอบข่าวประชาสัมพันธ์ฉบับนี้ได้ที่ https://www.globenewswire.com/NewsRoom/AttachmentNg/cc7a46a4-e6fd-43f9-91e6-834f31b75e8e

อ่านข่าวฉบับ PDF ได้ที่ https://ml.globenewswire.com/Resource/Download/3c08ae81-d703-4faf-8ea2-dc5c9c70ed7e 

ติดต่อ: pr@luxuryportfolio.com